วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ศาสนาในประเทศไทย

ศาสนิกชน[แก้]

จากสำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2543[2] พ.ศ. 2551[3] พ.ศ. 2554[4] และ พ.ศ. 2557[5][6] โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าในประเทศไทยมีผู้นับถือศาสนา ดังนี้
ศาสนาพ.ศ. 2543พ.ศ. 2551พ.ศ. 2554พ.ศ. 2557
ศาสนาพุทธ57,157,751 (93.83%)93.9%94.6%94.6%
ศาสนาอิสลาม2,777,542 (4.56%)5.2%4.6%4.2%
ศาสนาคริสต์486,840 (0.8%)0.7%0.7%1.1%
ศาสนาฮินดู52,631 (0.086%)0.2%0.1%0.1%
ลัทธิขงจื๊อ6,925 (0.011%)
ศาสนาอื่น ๆ48,156 (0.079%)
อศาสนา164,396 (0.27%)
ไม่ทราบศาสนา222,200 (0.36%)ไม่มีข้อมูลไม่มีข้อมูลไม่มีข้อมูล
ร้อยละของประชากรอายุ 13 ปีขึ้นไป จำแนกตามศาสนา และภาค พ.ศ. 2557[7][8]
ศาสนากรุงเทพมหานครภาคกลางภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคใต้ทั่วราชอาณาจักร
ศาสนาพุทธ95.3%97.2%96.6%99.4%75.3%94.6%
ศาสนาอิสลาม2.9%1.9%0.1%0.1%24.5%4.2%
ศาสนาคริสต์1.6%0.9%2.7%0.5%0.2%1.1%
ศาสนาอื่น ๆ0.2%-0.6%--0.1%

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น