พระสารีบุตร
ประวัติ
มีนามว่า อุปติสสะ เป็นบุตรพราหมณ์ในเมืองนาลันทา กรุงราชคฤห์ มีคุณสมบัติพิเศษ คือ เป็นผู้มีปัญญาเฉียบแหลม เล่าเรียนได้อย่างรวดเร็วได้เข้าศึกษาปรัชญาอยู่ในสำนักสัญชัยเวลัฏฐบุตร ได้ฟังธรรมจากพระอัสสชิเถระจนได้ดวงตาเห็นธรรม จึงขอบวชเป็นสาวกของพระพุทธเจ้า ได้นามว่า “สารีบุตร” และได้รับการแต่งตั้งจากพระพุทธเจ้าให้เป็นพระอัครสาวกเบื้องขวา
พระโมคคัลลานะ
ประวัติ
มีนามเดิมว่า โกลิตะเป็นบุตรพราหมณ์หัวหน้าหมู่บ้านโกลิตคาม ได้เข้าศึกษาปรัชญาอยู่ในสำนักสัญชัยเวลัฏฐบุตรได้ฟังธรรมจาก
พระอัสสชิเถระจนได้ดวงตาเห็นธรรม จึงขอบวชเป็นสาวก
ของพระพุทธเจ้า มีนามว่า “โมคคัลลานะ” หลังบรรลุพระอรหัตตผล มีคุณสมบัติพิเศษ คือ เป็นผู้มีฤทธิ์มาก สามารถใช้อิทธิ
ปาฏิหาริย์ชักจูงคนให้คลายจากความเห็นผิดได้รับการแต่งตั้งจาก
พระพุทธเจ้าให้เป็นพระอัครสาวกเบื้องซ้าย อ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559
หน้าที่ชาวพุทธ และมารยาทชาวพุทธ
ชาวพุทธ มีหน้าที่มากมายหลายประการที่จะต้องศึกษาเรียนรู้ ปฏิบัติ เพื่อที่จะรำลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ และเพื่อทำนุบำรุงอุปถัมภ์ สืบทอดพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองตลอดไป
1.1 หน้าที่และบทบาทของพระภิกษุสามเณร
พระนักเทศน์ ได้แก่ พระภิกษุที่ปฏิบัติหน้าที่สอนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาแก่เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป โดยการแสดงธรรม (เทศน์) และจะต้องผ่านการฝึกอบรมเป็นพระนักเทศน์ตามหลักสูตรของมหาเถรสมาคมแต่งตั้ง มี 2 ประเภท คือ
1. พระนักเทศน์แม่แบบ หมายถึง พระนักเทศน์ที่ผ่านการอบรมจากคณะกรรมการฝึกอบรมพระนักเทศน์ที่มหาเถรสมาคมแต่งตั้ง เพื่อไปจัดอบรมพระนักเทศน์ประจำจังหวัด อ่านเพิ่มเติม
1. พระนักเทศน์แม่แบบ หมายถึง พระนักเทศน์ที่ผ่านการอบรมจากคณะกรรมการฝึกอบรมพระนักเทศน์ที่มหาเถรสมาคมแต่งตั้ง เพื่อไปจัดอบรมพระนักเทศน์ประจำจังหวัด อ่านเพิ่มเติม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความหมายของศาสนา
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ได้ให้คำนิยามของคำว่า ศาสนา ไว้ว่า “ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือ แสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลก เป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทำตามความเห็นหรือตามคำสั่งสอนในความเชื่อถือนั้น ๆ “ศาสนาจึงมีความหมายในลักษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1. ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Religion” คำในภษาละตินว่า “Religio” แปลว่า “สัมพันธ์” หรือ “ผูกพัน” ซึ่งหมายถึง “ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า” (Man and God) หรือ “ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับเทพเจ้า” (Man and Gods) ด้วยการมอบศรัทธษบูชาพระเจ้าหรือเทพเจ้าผู้มีอำนาจเหนือตน และความเคารพยำเกรงศรัทธาดังกล่าวประกอบด้ว อ่านเพิ่มเติม
ศาสนาในประเทศไทย
ศาสนิกชน[แก้]
จากสำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2543[2] พ.ศ. 2551[3] พ.ศ. 2554[4] และ พ.ศ. 2557[5][6] โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าในประเทศไทยมีผู้นับถือศาสนา ดังนี้
ศาสนา | พ.ศ. 2543 | พ.ศ. 2551 | พ.ศ. 2554 | พ.ศ. 2557 |
---|---|---|---|---|
ศาสนาพุทธ | 57,157,751 (93.83%) | 93.9% | 94.6% | 94.6% |
ศาสนาอิสลาม | 2,777,542 (4.56%) | 5.2% | 4.6% | 4.2% |
ศาสนาคริสต์ | 486,840 (0.8%) | 0.7% | 0.7% | 1.1% |
ศาสนาฮินดู | 52,631 (0.086%) | 0.2% | 0.1% | 0.1% |
ลัทธิขงจื๊อ | 6,925 (0.011%) | |||
ศาสนาอื่น ๆ | 48,156 (0.079%) | |||
อศาสนา | 164,396 (0.27%) | |||
ไม่ทราบศาสนา | 222,200 (0.36%) | ไม่มีข้อมูล | ไม่มีข้อมูล | ไม่มีข้อมูล |
ศาสนา | กรุงเทพมหานคร | ภาคกลาง | ภาคเหนือ | ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | ภาคใต้ | ทั่วราชอาณาจักร |
---|---|---|---|---|---|---|
ศาสนาพุทธ | 95.3% | 97.2% | 96.6% | 99.4% | 75.3% | 94.6% |
ศาสนาอิสลาม | 2.9% | 1.9% | 0.1% | 0.1% | 24.5% | 4.2% |
ศาสนาคริสต์ | 1.6% | 0.9% | 2.7% | 0.5% | 0.2% | 1.1% |
ศาสนาอื่น ๆ | 0.2% | - | 0.6% | - | - | 0.1% |
การบริหารจิตและการเจริญปัญญา
การสวดมนต์แปลและ แผ่เมตตา
การไหว้พระสวดมนต์เป็นการแสดงความเคารพต่อพระรัตน ตรัยที่เราต้องปฏิบัติให้พร้อมทั้งทางกาย วาจา และใจ เพื่อให้เป็นการเสริมสร้างสติปัญญา ผู้ที่ปฏิบัติเป็นประจำจะเกิดสติสัมปชัญญะ มีจิตเป็นสมาธิ ประณีตและมีคุณธรรม ทำให้ความเห็นถูกต้องตามหลักของพระพุทธศาสนา
ในขณะที่สวดมนต์ถือเป็นการ บริหารจิตและเจริญปัญญาเบื้องต้น จะทำให้มีสติและสัมปชัญญะรู้ตัวอยู่กับปัจจุบันเสมอ การไหว้พระสวดมนต์ โดยมากนิยมทำในตอนเช้าและก่อนนอน หรือทำก่อนที่เราจะฝึกสมาธิซึ่งจะช่วยให้ผู้ฝึกจิตสงบ มีสมาธิ และระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย
ประโยชน์ของการสวดมนต์แผ่เมตตา
1. เป็นสุขทั้งยามหลับยามตื่น
2. ขณะหลับอยู่ไม่ฝันร้าย
3. สีหน้าสดชื่นผ่องใส เป็นที่รักของผู้พบเห็น
4. จิตมั่นคง ใจเป็นสมาธิตั้งมั่นได้เร็ว
5.เทวดาย่อมรักษาคุ้มครอง อ่านเพิ่มเติม
การไหว้พระสวดมนต์เป็นการแสดงความเคารพต่อพระรัตน ตรัยที่เราต้องปฏิบัติให้พร้อมทั้งทางกาย วาจา และใจ เพื่อให้เป็นการเสริมสร้างสติปัญญา ผู้ที่ปฏิบัติเป็นประจำจะเกิดสติสัมปชัญญะ มีจิตเป็นสมาธิ ประณีตและมีคุณธรรม ทำให้ความเห็นถูกต้องตามหลักของพระพุทธศาสนา
ในขณะที่สวดมนต์ถือเป็นการ บริหารจิตและเจริญปัญญาเบื้องต้น จะทำให้มีสติและสัมปชัญญะรู้ตัวอยู่กับปัจจุบันเสมอ การไหว้พระสวดมนต์ โดยมากนิยมทำในตอนเช้าและก่อนนอน หรือทำก่อนที่เราจะฝึกสมาธิซึ่งจะช่วยให้ผู้ฝึกจิตสงบ มีสมาธิ และระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย
ประโยชน์ของการสวดมนต์แผ่เมตตา
1. เป็นสุขทั้งยามหลับยามตื่น
2. ขณะหลับอยู่ไม่ฝันร้าย
3. สีหน้าสดชื่นผ่องใส เป็นที่รักของผู้พบเห็น
4. จิตมั่นคง ใจเป็นสมาธิตั้งมั่นได้เร็ว
5.เทวดาย่อมรักษาคุ้มครอง อ่านเพิ่มเติม
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
1.ขันธ์ 5 หรือ เบญจขันธ์ คือ องค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ที่ประกอบด้วยรูปและนาม
รูป คือ ส่วนที่เป็นร่างกาย ประกอบด้วยธาตุ 4 ได้แก่
- ธาตุดิน(ส่วนของร่างกายที่เป็นของแข็ง เช่น เนื้อ กระดูก ผม)
- ธาตุน้ำ (ส่วนที่เป็นของเหลวของร่างกาย) เช่น เลือด น้ำลาย น้ำเหลือง น้ำตา )
- ธาตุลม (ส่วนที่เป็นลมของร่างกาย ได้แก่ ลมหายใจเข้าออก ลมในกระเพาะอาหาร)
- ธาตุไฟ ( ส่วนที่เป็นอุณหภูมิของร่างกาย ได้แก่ ความร้อนในร่างกายมนุษย์)
นาม คือ ส่วนที่มองไม่เห็นหรือจิตใจ ได้แก่
- เวทนา คือ ความรู้สึกที่เกิดจากประสาทสัมผัส เช่น สุขเวทนา ทุกขเวทนาและอุเบกขาเวทนา ไม่ยินดียินร้าย
- สัญญา คือ ความจำได้โดยอาศัยประสาทสัมผัส เมื่อสัมผัสอีกครั้งก็สามารถบอกได้
- สังขาร คือ สภาพที่ปรุ อ่านเพิ่มเติม
รูป คือ ส่วนที่เป็นร่างกาย ประกอบด้วยธาตุ 4 ได้แก่
- ธาตุดิน(ส่วนของร่างกายที่เป็นของแข็ง เช่น เนื้อ กระดูก ผม)
- ธาตุน้ำ (ส่วนที่เป็นของเหลวของร่างกาย) เช่น เลือด น้ำลาย น้ำเหลือง น้ำตา )
- ธาตุลม (ส่วนที่เป็นลมของร่างกาย ได้แก่ ลมหายใจเข้าออก ลมในกระเพาะอาหาร)
- ธาตุไฟ ( ส่วนที่เป็นอุณหภูมิของร่างกาย ได้แก่ ความร้อนในร่างกายมนุษย์)
นาม คือ ส่วนที่มองไม่เห็นหรือจิตใจ ได้แก่
- เวทนา คือ ความรู้สึกที่เกิดจากประสาทสัมผัส เช่น สุขเวทนา ทุกขเวทนาและอุเบกขาเวทนา ไม่ยินดียินร้าย
- สัญญา คือ ความจำได้โดยอาศัยประสาทสัมผัส เมื่อสัมผัสอีกครั้งก็สามารถบอกได้
- สังขาร คือ สภาพที่ปรุ อ่านเพิ่มเติม
ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากลและข้อปฏิบัติที่ยึดถือทางสายกลางตามหลักพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล
พระพุทธศาสนามีหลักการและทฤษฎีที่เป็นสากล คือ หลักอริยสัจ 4 หมายถึง หลักความจริงอันประเสริฐของชีวิตมี 4 ประการคือ
1. ทุกข์ (ความไม่สบายกายและใจ) สอนว่า “ ชีวิต และโลก นี้มีปัญหาอะไรบ้าง ”
2. สมุทัย (สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์) สอนว่า “ ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมีสาเหตุ มิได้เกิดขึ้นมาลอย ๆ ”
3. นิโรธ (วิธีการดับทุกข์) สอนว่า “ มนุษย์มีศักยภาพในตัวเอง ที่จะสามารถแก้ปัญหาได้เอง ”
4. มรรค (แนวทางการปฏิบัติให้ถึงการดับทุกข์) สอนว่า “การแก้ปัญหาต้องใช้ปัญญา” (ความรู้และความเพียรพยายาม)
อริยสัจ 4 เป็นหลักความจริงที่มีหลักการเป็นที่ยอมรับสอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นหลักสากลยอมรับทั่วไป
ข้อปฏิบัติที่ยึดถือทางสายกลางตามหลักพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนามีหลักคำสอนที่เป็นสภาวะกลาง คือ การปฏิบัติที่ยึดทางสายกลางไม่ตึงหรือหย่อนต่อการปฏิบัติจนเกินไปเรียกว่า “ มัชฌิมาปฏิปทา ” ซึ่งมีความหมายว่า การปฏิบัติที่พอดีมีความสมเหตุสมผล ไม่ทำอะไ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)